

ตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2566
เบาหวาน
1.ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยเบาหวาน
2.อัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานต่อแสนประชากรในปีงบประมาณ
3.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง (เป้าหมาย > 5%)
4.ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียน และได้รับการตรวจติดตามและรักษาที่เหมาะสม (เป้าหมาย > 90%)
5.ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะอ้วนลงพุง [รอบเอวมากกว่า (ส่วนสูง(ซม.)/2)] (เป้าหมาย < 60 %)
6.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะอ้วน [BMI > 25 กก./ตร.ม.] ลดลงจากปีงบประมาณที่ผ่านมา (เป้าหมาย > 5%)
7.ร้อยละของผู้ป่วย DM ที่ได้รับการตรวจ HbA1c อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี (เป้าหมาย > 70 %)
8.ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี (เป้าหมาย > 40 %)
9.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีความดันโลหิตควบคุมได้ตามเกณฑ์ (เป้าหมาย > 60 %)
10.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจไขมัน LDL (เป้าหมาย > 65 %)
11.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจไขมัน LDL และมีค่า LDL < 100 mg/dl (เป้าหมาย > 55 %)
12.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา (เป้าหมาย > 60 %)
13.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า (เป้าหมาย > 60 %)
14.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ยังไม่มีภาวะแรกซ้อนทางไตได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต (เป้าหมาย > 60 %)
15.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต (เป้าหมาย > 60 %)
16.ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันในผู้ป่วยเบาหวาน (เป้าหมาย < 2 %)
ความดันโลหิตสูง
1.ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัย HT (เป้าหมาย > 90%)
2.ร้อยละของผู้ป่วย HT รายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วยที่ได้รับการตรวจติดตาม (HBPM หรือ OBPM)
3.ร้อยละของผู้ป่วย HT รายใหม่จากผู้ที่มีระดับ BP อยู่ในเกณฑ์เกือบสูง (กลุ่มเสี่ยง HT)
4.อัตราป่วยรายใหม่ของ HTต่อแสนประชากรในปีงบประมาณ
5.ร้อยละผู้ป่วย HT ที่ขึ้นทะเบียนและมารับการรักษาในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
6.ร้อยละผู้ป่วย HT ที่ควบคุมระดับ BP ได้ดี (เป้าหมาย > 60%)
โรคเบาหวาน และ/หรือโรคความดันโลหิตสูง
1.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)
2.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูงที่มี CVD Risk > 20% ในช่วงไตมาส 1,2 และมีผล CVD Risk ลดลงเป็น < 20% ในไตรมาส 3,4
3.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูงที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง
4.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูงที่เป็น CKD 1-4 และได้รับยา ACEi/ARB
5.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูงที่เป็น CKD 3-4 ชะลอการลดลงของ eGFR ได้ตามเป้าหมาย
คู่มือ แนวทางการดำเนินงาน
ตัวชี้วัดการจัดการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
สรุปประเด็นคำถามจากการประชุมเชิงปฏิบัติการชี้แจงตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการการดำเนินงานด้าน โรคไม่ติดต่อ (DM-HT) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566